Monday, January 11, 2021

เล่าเรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

โดย ประยุทธ พันธุลาภ และ เมธี พันธุลาภ
ทบทวนล่าสุด : 2023-05-13


*****ข้อมูลในเว็บไซต์มีลิขสิทธิ์*****

เว็บไซต์มีลิขสิทธิ์

*****การบรรยายนี้ใช้ ข้อมูลในเว็บไซต์ภายนอกประกอบ ซึ่งมีลิขสิทธิ์*****

*****จึงต้องใช้ link url ในการนำเสนอ เพื่อไม่ทำซ้ำ*****

*****และอาจมีการกล่าวพาดพิงหน่วยงานอื่นๆ*****

*****จึงไม่อนุญาตให้อัด video เป็นหลักฐานว่า*****

*****ผู้บรรยายกำลังละเมิดลิขสิทธิ์ หรือหมิ่นประมาท*****



Link กฏหมายลิขสิทธ์ 1 ,2

บังคับใช้ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) 1 มิถุนายน พ.ศ.2565


กฏหมายที่เกี่ยวข้อง


สำนักงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล


- สำนักงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล [Click to Open]

- กฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล [Click to Open]
  • พระราชบัญญัติ (2)
  • ประกาศ (9)
  • ระเบียบ (3)
  • แนวทาง (2)
  • คู่มือ (3)
  • แนวปฏิบัติ (1)
- แนวปฏิบัติสำหรับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เผยแพร่ 10 ก.พ. 2566 [Click to Open]

คณะกรรมการ

Open Link


กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562

- พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
[Click to Open]


- Unofficial Translation Personal Data Protection Act 2562
[Click to Open]


- การยกเว้นการบันทึกรายการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการขนาดเล็ก พ.ศ.2565
[Click to Open]


- หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2565
[Click to Open]


- มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2565
[Click to Open]


- หลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล 2565
[Click to Open]


- ระเบียบคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ว่าด้วยการยื่น การไม่รับเรื่อง การยุติเรื่อง การพิจารณา และระยะเวลาในการพิจารณาคาร้องเรียน 2565
[Click to Open]


- หลักเกณฑ์การพิจารณาออกคำสั่งลงโทษปรับทางปกครองของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565
[Click to Open]




- เอกสารประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
[Click to Open]


- เอกสารผลการรับฟังความเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) กฎหมายลำดับรอง เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
[Click to Open]


- ร่างกฎหมายลำดับรอง
[Click to Open]


- กฎหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงดิจิตัลฯ
[Click to Open]


-ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล 2565
[Click to Open]


-ประกาศกระทรวงดิจิทัล มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 2565
[Click to Open]


- นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของกรมการขนส่งทางบก ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562
[Click to Open]


- แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของกรมการขนส่งทางบก ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562
[Click to Open]


-ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2564
[Click to Open]


-ประกาศการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เรื่อง แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2564
[Click to Open]


แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าสาหรับธุรกิจประกันชีวิต 2564
[Click to Open]


แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าสาหรับธุรกิจประกันวินาศภัย 2564
[Click to Open]


แนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เอาประกันภัยสาหรับการตรวจสอบและประเมินวินาศภัย 2564
[Click to Open]


- เอกสารแม่แบบ PDPA สำหรับการดำเนินการ ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลภาครัฐ
[Click to Open]


- พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562
[Click to Open]


- (ตัวอย่าง) สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี : แนวนโยบายและแนวปฏิบัติความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศ และ access control
[Click to Open]



เลื่อนการบังคับใช้ PDPA

- ประกาศ "22 หน่วยงานและกิจการ" ไม่ต้องอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคล 2562( ถึง 31 พ.ค. 2564) [Click to Open or Download]
- ประกาศ "22 หน่วยงานและกิจการ" ไม่ต้องอยู่ภายใต้ พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคล 2562( ถึง 31 พ.ค. 2565) [Click to Open or Download]



ที่มาของ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

ตัวอย่าง PDPA Data

ประเภทข้อมูล ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคล
รายละเอียดส่วนบุคคล
  • ชื่อ, ชื่อกลาง, นามสกุล
  • ชื่อเล่น, นามแฝง
  • วันเดือนปีเกิด
  • เพศ
  • อายุ
  • การศึกษา
  • สถานภาพสมรส
  • สัญชาติ (มาตรา 26)
  • เชื้อชาติ (มาตรา 26)
รายละเอียดการติดต่อ
  • หมายเลขโทรศัพท์
  • ที่อยู่ติดต่อทางไปรษณีย์
  • ที่อยู่อิเล็กทรอนิกส์
  • หมายเลขโทรสาร
  • บัญชี Facebook, LINE เป็นต้น
รายละเอียดที่ใช้ในการระบุตัวตน
และการยืนยันตัวตน
  • ภาพถ่ายบัตรประจำตัวประชาชน
  • เลขประจำตัวประชาชน
  • ลายมือชื่อ
  • ข้อมูล passport
  • ใบอนุญาตขับยานพาหนะ
รายละเอียดการทำงาน
  • อาชีพ
  • รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัทนายจ้าง
  • ตำแหน่ง
  • เงินเดือน
  • ค่าตอบแทน
ข้อมูลการวิจัยตลาด ข้อมูลการตลาดและยอดขาย
  • การสำรวจความคิดเห็นลูกค้า
  • ข้อมูลและความเห็นที่แสดงออกเมื่อเข้าร่วมวิจัยตลาด
  • รายละเอียดบริการที่ลูกค้าได้รับและความต้องการของลูกค้า
ข้อมูลส่วนบุคคลอ่อนไหว
(มาตรา 26)
  • เชื้อชาติ
  • เผ่าพันธุ์
  • ความคิดเห็นทางการเมือง
  • ความเชื่อในลัทธิ
  • ศาสนาหรือปรัชญา
  • พฤติกรรมทางเพศ
  • ประวัติอาชญากรรม
  • ข้อมูลสุขภาพ
  • ความพิการ
  • ข้อมูลสหภาพแรงงาน
  • ข้อมูลพันธุกรรม
  • ข้อมูลชีวภาพ
  • หรือข้อมูลอื่นใด ซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทำนองเดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย
  • รูปภาพ
  • ลักษณะรูปพรรณสัณฐานบุคคล
  • การตรวจพบข้อสงสัยหรือกิจกรรมที่ผิดปกติ
  • ภาพถ่ายหรือภาพเคลื่อนไหวผ่านกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
  • บันทึกวีดีโอ
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์และข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรม
  • ตำแหน่ง GPS ของลูกค้า
  • พฤติกรรมการชับยานพาหนะของลูกค้า



Overview and Action Plan

แนวทางการเตรียมตัว 10 ขั้นตอน



ขั้นตอน แนวทาง
1) ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
  • ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
  • ตั้งงบประมาณ
2) แต่งตั้ง DPO หรือ คณะทำงาน
  • แต่งตั้ง DPO ถ้าเป็นองค์กรใหญ่ หรือ
  • แต่งตั้งคณะทำงาน ถ้าเป็นองค์กรขนาดเล็ก
3) สำรวจข้อมูล
  • สำรวจข้อมูลส่วนบุคคลในทุกฝ่าย
  • กำหนดประเภทของข้อมูลส่วนบุคคล
  • ระบุวัตถุประสงค์
  • ระบุความจำเป็น
4) ทบทวน นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
  • บริหารจัดการ
  • การเข้าถึงข้อมูล
  • life-cycle ของข้อมูล
5) จัดเตรียมข้อกำหนด หรือแนวปฏิบัติ
  • จัดเตรียมข้อกำหนด หรือแนวปฏิบัติ
  • การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
6) จัดทำมาตรฐาน security
  • จัดทำเอกสารมาตรฐาน security
7) พัฒนากระบวนการแจ้งเตือน (Breach Notification)
  • พัฒนากระบวนการแจ้งเตือน
  • การรั่วไหลหรือละเมิดมาตรการความมั่นคงปลอดภัยต่อ ข้อมูลส่วนบุคคลมีความหมายกว้างครอบคลุมการที่ข้อมูล ถูกทำลาย การสูญหาย การแก้ไขเปลี่ยนแปลง การเปิดเผย หรือการเข้าถึง ส่งต่อ เก็บ รักษาหรือถูกประมวลผลอย่างอื่นไม่ว่าจะเกิดจากการกระทำอันมิชอบด้วยกฎหมาย หรือโดยอุบัติเหตุ
  • แจ้งสำนักงานฯกรณีข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล ภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่ได้ทราบ เว้นแต่เหตุที่เกิดนั้นไม่น่าจะก่อให้เกิดความเสี่ยงใดๆ ต่อสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล กรณีที่ไม่อาจแจ้งเหตุได้ภายใน 72 ชั่วโมง ผู้ ควบคุมจะต้องแจ้งเหตุผลแห่งการแจ้งเหตุล่าช้าด้วย
  • ผู้ควบคุมข้อมูลมีหน้าที่แจ้งเจ้าของข้อมูลโดยไม่ชักช้า ต่อเมื่อการรั่วไหลของข้อมูลนั้นก่อให้เกิดความเสี่ยงสูงต่อสิทธิเสรีภาพของเจ้าของ ข้อมูล ในกรณีเช่นว่านี้จะต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายและมี ความชัดเจนและมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้
    (a) คำอธิบายลักษณะของการรั่วไหลของข้อมูล
    (b) ชื่อหรือข้อมูลการติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหรือ (ถ้ามี) เจ้าหน้าที่คุ้มครอง ข้อมูล (Data Protection Officer)
    (c) ผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ข้อมูลรั่วไหล
    (d) มาตรการที่เสนอแนะให้เจ้าของข้อมูลกระทำเพื่อรับมือกับกรณีดังกล่าวที่ อาจจะลดผลร้ายที่อาจเกิดจากการที่ข้อมูลรั่วไหลได้
  • ผู้ควบคุมข้อมูลดำเนินการหาสาเหตุและมาตรการเยียวยา รวมถึงติดตามผลการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาการรั่วไหลของข้อมูล
8) สร้างความตระหนักในองค์กร
  • ประกาศของบริษัทแจ้งพนักงาน
  • ให้ความรู้กับพนักงานภายในองค์กรเกี่ยวกับข้อกฎหมาย ความสำคัญของ PDPA ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น และโทษสูงสุด
9) พัฒนาทักษะ และการตรวจประเมิน
  • กำหนดแนวทางการตรวจประเมิน
  • พัฒนาทักษะในการตรวจประเมิน
10) PDPA by design
  • PDPA by design
  • Security by design


Data Breach

ข้อมูลส่วนตัวรั่วไหล (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)

  • การให้ข้อมูลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์
  • การให้ข้อมูลโดยเข้าใจผิด หรือถูกทำให้หลงเชื่อ
  • การให้ข้อมูลโดยไม่รู้ที่มาที่ไปของผู้จัดทำ
  • การทิ้งหรือนำเอกสารมาใช้ซ้ำ
  • การวางข้อมูลส่วนตัวไว้ในที่สังเกตเห็นได้ง่าย

HR Link


Links

# เทคนิคการอ่านกฎหมาย (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
โดย นายมานิตย์ จิตต์จันทร์กลับ
อดีต อธิบดี ผู้พิพากษาศาลอาญากรุงเทพใต้

# มาตรา 105 ใบรับ ใบกำกับภาษี
# ประกาศกระทรวงมหาดไทย สัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด

นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#1 (Automotive) ***(ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#2 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#3 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#4 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#5 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#6 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- การเข้าและการใช้งานเว็บไซต์ (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- ข้อกำหนดและเงื่อนไขในการขนส่ง (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล#5 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)

นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พนักงาน

- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พนักงาน#1 ***(ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พนักงาน#2 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พนักงาน#3 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)

แบบฟอร์มขอใช้สิทธิข้อมูลส่วนบุคคล

- แบบคำร้องขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล#1 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- แบบคำร้องขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล#2 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)
- แบบคำร้องขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล#3 (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)

DPO

แต่งตั้ง DPO (ข้อมูลในเว็บมีลิขสิทธิ์)

หมวด และมาตรา

ทั้งหมด 44 หน้า

ทั้งหมด 96 มาตรา

มี 7 หมวด

ทั่วไปมาตรา 1 ถึง 7
หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมาตรา 8 ถึง 18
หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลส่วนที่ 1 บททั่วไป มาตรา 19 ถึง 21 Link,
ส่วนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 22 ถึง 26 Link,
ส่วนที่ 3 การใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 27 ถึง 29 Link
หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล มาตรา 30 ถึง 36 Link
มาตรา 37 ถึง 39 ผู้คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล Link
มาตรา 40 ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล Link
มาตรา 41 ถึง 42 เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล Link
หมวด 4 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมาตรา 43 ถึง 70
หมวด 5 การร้องเรียน มาตรา 71 ถึง 76 Link
หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง มาตรา 77 ถึง 78 Link
หมวด 7 บทกำหนดโทษส่วนที่ 1 โทษอาญา มาตรา 79 ถึง 81 Link,
ส่วนที่ 2 โทษทางปกครอง มาตรา 82 ถึง 90 Link
บทเฉพาะกาลมาตรา 91 ถึง 96
หมายเหตุเหตุผลในการประกาศ พรบ.


ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 27




แนวทางวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลในฝ่าย HR


ตัวอย่าง เอกสารที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง และประเด็นการใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล

  • ภ.ง.ด.1 แบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
  • มาตรา 50 ทวิ หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่่จ่าย

















Back to Overview

แนวทางวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลในระหว่างการศึกษา